Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกมลนรากิจ, จิระนันท์-
dc.date.accessioned2020-05-22T08:23:55Z-
dc.date.available2020-05-22T08:23:55Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1231&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://10.209.10.67:8080/handle/123456789/267-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความพึงพอใจที่มีต่อ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรค เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวที่มีต่อร้านอาหารฮาลาลในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 4) ศึกษาแนวทางการพัฒนาร้านอาหารฮาลาล เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นวิธีวิจัยเชิงผสม ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยว และรับประทานอาหารฮาลาลในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมทางสถิติ ในการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสถิติ f-test และ ค่าไค–สแควร์ (Chi–square test) การวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ กลุ่มประชากรที่เกี่ยวข้องกับร้านอาหารฮาลาล 3 ภาคส่วน จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวอายุแตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ในแต่ละด้านไม่แตกต่างกัน ขณะที่นักท่องเที่ยวที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ แตกต่างกัน ยกเว้น ด้านสถานที่จัดจำหน่ายและด้านบุคลากร มีระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ไม่แตกต่างกัน 2) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ไม่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารฮาลาลของนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในทุก ๆ ด้าน 3) ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผู้ประกอบร้านอาหารฮาลาลส่วนใหญ่ ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับเครื่องหมายฮาลาล 4) แนวทางการพัฒนาร้านอาหารฮาลาล เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ควรเร่งสร้างความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาพลักษณ์ของสินค้า ด้านบุคลากร และกระบวนการผลิต ทั้งนี้หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ และด้านเงินลงทุนให้กับผู้ประกอบการen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectแนวทางการพัฒนาen_US
dc.subjectร้านอาหารฮาลาลในอำเภอหาดใหญ่en_US
dc.subjectความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวen_US
dc.subjectGuidelines to developingen_US
dc.subjectHalal-food restauranten_US
dc.subjectThai tourists’ satisfactionen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาร้านอาหารฮาลาลเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Guidelines for Developing Thai Tourist Halal-Food Restaurants in Hadyai District Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
27.Jiranan Kamonnarakit.pdfJiranan Kamonnarakit5.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.