Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1632
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนุมา, ณัฐกานต์ | - |
dc.contributor.author | อัครวิชิตศักดิ์, อัญรินทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-11T07:01:15Z | - |
dc.date.available | 2022-08-11T07:01:15Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1632 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL เรื่อง กราฟ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เทียบกับเกณฑ์ 70% 2) ศึกษาทักษะและกระบวนการของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL เรื่อง กราฟ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL เรื่อง กราฟ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเทศบาล 1 กิตติขจร จังหวัดตาก สำกัดเทศบาลเมืองตาก จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ 3) แบบบันทึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4) แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL เรื่อง กราฟ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าเกณฑ์ 70% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายทักษะ พบว่า ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการสื่อสารการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ ทักษะการเชื่อมโยง อยู่ในระดับดี และทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อยู่ในระดับดีมาก 3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน พบว่า คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายคุณลักษณะ พบว่า คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมีวินัย ด้านใฝ่เรียนรู้ และด้านมุ่งมั่นในการทำงาน อยู่ในระดับดี และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านจิตสาธารณะ อยู่ในระดับดีมาก | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.subject | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD | en_US |
dc.subject | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL | en_US |
dc.subject | ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | คุณลักษณะอันพึงประสงค์ | en_US |
dc.subject | Cooperative learning, STAD | en_US |
dc.subject | KWDL learning | en_US |
dc.subject | Mathematical processes and skill | en_US |
dc.subject | Desirable characteristic | en_US |
dc.title | การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWDL เรื่อง กราฟ ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en_US |
dc.title.alternative | Studying the Results of Cooperative Learning Technique With STAD And KWDL Learning on Graph of Matthayomsuksa Three | en_US |
dc.type | Other | en_US |
Appears in Collections: | คณะวิทยาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nutthakan Anuma.pdf | Nutthakan Anuma | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.