Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกียรติวงศ์, อัจฉราพร-
dc.date.accessioned2023-08-04T02:19:19Z-
dc.date.available2023-08-04T02:19:19Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=992&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2040-
dc.description.abstractในการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อศึกษาระดับความเครียดในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ว่าอยู่ในระดับใด และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม กลุ่มประชากรที่ทำการศึกษา ได้แก่ บุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา จำนวนทั้งสิ้น 92 คน ผลของการศึกษาสรุปได้ดังนี้ ระดับความเครียดในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเทศบาล ตำบลแม่กา มีความเครียดในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง ( x̄ = 3.43 ) บุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา ที่มีระดับความเครียดในการทำงานที่แตกต่างกันมีปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ สถานภาพการสมรส ตำแหน่งงาน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานกับองค์กร และรายได้รวมเฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความเห็นว่าปัจจัยส่วนบุคคลทั้ง 5 ด้าน มีผลต่อความเครียดในการทำงาน ส่วนปัจจัยในการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของ Cooper and Marshall ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านแหล่งภายนอกองค์กร ปัจจัยด้านสัมพันธภาพในที่ทำงาน ปัจจัยด้านบทบาทหน้า ที่ปัจจัยด้านโครงสร้างและบรรยากาศองค์กร และปัจจัยด้านลักษณะงาน โดยภาพรวมปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง ( x̄=3.42 ) โดยภาพรวม ความเครียดมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการทำงานในระดับปานกลาง แต่เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแล้ว เมื่อเกิดความเครียดในการทำงานบุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อยากออกจากงานเพราะมีความเบื่อหน่าย และไม่ค่อยมีความรู้สึกผูกพันกับงานเหมือนก่อน ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงมาก นอกจากนี้การฝืนใจทำงานทำให้ผลงานตกต่ำลง และการขาดงานบ่อยขึ้นส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลงปานกลาง และหน่วยงานควรกำหนดนโยบายในการจัดสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน และการจัดเวลาการปฏิบัติงานให้เหมาะสม และชัดเจนไม่ก่อให้เกิดความเครียดมากจนเกินไปหากต้องปฏิบัติหน้าที่ ในภาวะความเสียงสูงก็ควรได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสม และมีระยะเวลาพักผ่อนอย่างเพียงพอen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดในการทำงานen_US
dc.subjectInfluential factors to the stress on worken_US
dc.subjectเทศบาลตำบลแม่กาen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.subjectการทำงานen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectMaeka District Municipalityen_US
dc.subjectPersonnelen_US
dc.subjectThe worken_US
dc.subjectStrainen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเทศบาลตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeInfluential Factors to the Stress on Work Performance of Personnel in Maeka District Municipality Offices, Muang District, Phayao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aucharaporn Kiattiwong.pdfAucharaporn Kiattiwong2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.