Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกรพรม, ธนธรณ์-
dc.contributor.authorล้อเสียง, พัทรศยา-
dc.contributor.authorตราทิพย์, สุกัญญา-
dc.date.accessioned2023-11-09T06:14:39Z-
dc.date.available2023-11-09T06:14:39Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2413-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ได้ทำการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาบางประการของ ผักตบชวา (Eichhornia crassipes (Mart.) Solms) จอกหูหนู (Salvinia cucullata Roxb. ex Bory) และสาหร่ายหางกระรอก (Hydrilla verticillata (L.f.) Royle.) ที่ปลูกด้วยวิธีไฮโดรโพนิกส์ โดยศึกษาความสามารถในการทนต่อสารละลาย AgNO3 ของพืชทดสอบที่ระดับความเข้มข้น 5.8 µM (5.51 µmol Ag), 58 µM (55.10 µmol Ag) and 580 µM (551.0 µmol Ag) พบว่า ผักตบชวาจะมีความทนต่อสารละลาย AgNO3 ในทุกความเข้มข้น จอกหูหนูทนต่อสารละลาย AgNO3 ที่ระดับ 5.8 และ 58 µM และสาหร่ายหางกระรอกทนได้ที่ความเข้มข้น 5.8 µM จากนั้นนำพืชทั้ง 3 ชนิดไปปลูกในน้ำผงซักฟอก Silver nano , น้ำผงซักฟอกธรรมดา และน้ำปุ๋ย ไฮโดรโปนิกส์ผสม สารละลาย AgNO3 (0.1 mg/L) เป็นเวลา 10 วัน จากผลการวิจัยพบว่า พืชทั้งสามชนิดมีแนวโน้มของปริมาณรงควัตถุ คลอโรฟิลล์บี > คลอโรฟิลล์เอ > แคโรทีน และยัง พบลักษณะแนวโน้มดังกล่าวในพืชแต่ละชนิดที่ได้รับสารละลาย AgNO3 ในระดับความเข้มข้น สูงสุดที่พืชนั้น ๆ ทนได้ ผลการศึกษา ปริมาณเอนไซม์คะตะเลสในสาหร่ายหางกระรอก จอกหูหนู และผักตบชวา ที่ได้รับสารละลาย AgNO3 ที่ความเข้มข้น 5.8, 58 และ580 µM ตามลำดับ พบว่า ปริมาณเอนไซม์คะตะเลสของพืชแต่ละชนิดเพิ่มจำนวนขึ้นในช่วงวันที่ 1-5 และลดลงในวันที่ 7-10 ระหว่างระยะเวลาการทดลองen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectจอกหูหนูen_US
dc.subjectซิลเวอร์en_US
dc.subjectผักตบชวาen_US
dc.subjectรงควัตถุen_US
dc.subjectสาหร่ายหางกระรอกen_US
dc.subjectเอนไซม์คะตะเลสen_US
dc.subjectCatalase enzymeen_US
dc.subjectHydrillaen_US
dc.subjectPigmenten_US
dc.subjectSalviniaen_US
dc.subjectSilveren_US
dc.subjectWater hyacinthen_US
dc.titleการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของผักตบชวา จอกหูหนู และสาหร่ายหางกระรอก ที่ได้รับซิลเวอร์ไนเตรทและน้ำผงซักฟอกผสมซิลเวอร์นาโนen_US
dc.title.alternativeDetermination of Some Physiological Changes After Silver Nitrate and Commercial Detergent (with Silver Nano Particle) Treatment in Water Hyacinth, Salvinia and Hydrillaen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:คณะวิทยาศาสตร์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.